ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ เกษตรแม่นยำ : ภาพรวมและมาตรการทางกฎหมายของสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ เศรษฐกิจไฮโดรเจนและมาตรการความปลอดภัย : กรณีศึกษาสาธารณรัฐประชาชนจีน
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
นโยบายด้านการเกษตรของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งในบทความนี้จะขอเรียกโดยย่อว่า ประเทศจีน มีการพัฒนามาอย่างยาวนานนับแต่การก่อตั้งประเทศ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของภาคการเกษตรตามทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยนโยบายของประเทศในช่วงเริ่มแรกมุ่งเน้นการเพิ่มผลผลิตเพื่อให้เพียงพอกับจำนวนประชากรในประเทศ และพัฒนามาสู่การสร้าง ความปลอดภัยด้านอาหาร (food safety) การเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร การสร้างเสริมขีดความสามารถในการแข่งขัน ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพด้านการเกษตรของประเทศควบคู่กับการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความมฉบับเต็มได้ที่ เกษตรแม่นยำ : กรณีศึกษาสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาฉบับนี้ มีความมุ่งหมายในการรวบรวมข้อมูลด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ซึ่งเป็นแนวคิดที่มีความสำคัญอย่างมากในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากแนวคิดดังกล่าวมีความมุ่งหมายในการแก้ไขปัญหาการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลือง ปัญหามลพิษในด้านต่าง ๆ ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมถึงปัญหาด้านสุขอนามัยของประชาชน
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงรายงานการศึกษาฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> รายงานการค้นคว้าทางวิชาการ เรื่อง เศรษฐกิจสีเขียว
บทความเรื่องการจัดการขยะพลาสติก : กรณีศึกษาราชอาณาจักรสวีเดน
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การจัดการขยะพลาสติก : กรณีศึกษาราชอาณาจักรสวีเดน
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความเรื่องมาตรการการจัดการขยะพลาสติกในสิงคโปร์
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ มาตรการการจัดการขยะพลาสติกในสิงคโปร์
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึง มาตรการทางกฎหมายในเรื่องการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน สิงคโปร์ – ไทย เนื่องจากสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีชื่อเสียงทั้งในเรื่องการเป็นตลาดการเงินอันดับต้น ๆ ของโลกและมีมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินไว้อย่างชัดเจนและยาวนาน
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน สิงคโปร์ - ไทย
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
รายงานการศึกษาฉบับนี้ นำเสนอข้อมูลเพื่อให้ผู้อ่านได้ทำความรู้จักกับเทคโนโลยีเสมือนจริงรูปแบบต่าง ๆ พร้อมทั้งประโยชน์และผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงในด้านต่าง ๆ และมุมมอง ท่าที นโยบาย และแผนงานด้านเทคโนโลยีเสมือนจริง รวมทั้งการเตรียมความพร้อมทางกฎหมายในการเข้าสู่โลกแห่งเทคโนโลยีเสมือนจริง อันเป็นการสร้างความตระหนักรู้แก่ทุกภาคส่วนถึงความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัลในอีกรูปแบบหนึ่งที่จะมีการใช้กันอย่างแพร่หลายมากยิ่งขึ้นในอนาคต
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงรายงานการศึกษาฉบับเต็มได้ที่นี่ การเตรียมพร้อมเข้าสู่โลกแห่งเทคโนโลยีเสมือนจริง
รายงานการศึกษาฉบับนี้ มีความมุ่งหมายในการศึกษาและรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นความหลากหลายทางชีวภาพทั้งในส่วนของความร่วมมือระหว่างประเทศ แนวนโยบาย แผนงานที่เกี่ยวข้อง และมาตรการทางกฎหมายของต่างประเทศและของไทย เพื่อจะได้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่เป็นประโยชน์ให้แก่หน่วยงานของรัฐและประชาชนที่สนใจ รวมทั้งเป็นการจุดประกายให้ทุกภาคส่วนได้รับทราบถึงความสำคัญของการร่วมกันอนุรักษ์และคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพให้เป็นไปอย่างยั่งยืน
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงรายงานฉบับเต็มได้ที่นี่ กฎหมายเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ
บทความนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอกฎหมายที่มีผลกระทบหรือเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีเสมือนจริงของสหพันธรัฐรัสเซีย ต่อเนื่องจากที่ได้นำเสนอนโยบาย แผนงาน มุมมอง และท่าทีของภาครัฐและเอกชนของสหพันธรัฐรัสเซียต่อการเตรียมความพร้อมให้เท่าทันต่อเทคโนโลยีเสมือนจริงแล้วก่อนหน้านี้ ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ >>> กฎหมายที่มีผลกระทบหรือเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีเสมือนจริงของประเทศสหพันธรัฐรัสเซีย
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอมาตรการด้านกฎหมายในการกำกับดูแลเทคโนโลยีเสมือนจริงของสาธารณรัฐอินเดีย ต่อเนื่องจากที่ได้นำเสนอนโยบาย แผนงาน มุมมอง และท่าทีของภาครัฐและเอกชนของสาธารณรัฐอินเดียต่อการเตรียมความพร้อมให้เท่าทันต่อเทคโนโลยีเสมือนจริงแล้วก่อนหน้านี้ ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ >>> สาธารณรัฐอินเดีย: มาตรการด้านกฎหมายในการกำกับดูแลเทคโนโลยีเสมือนจริง
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอนโยบาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ แผนงาน มุมมอง ท่าทีของภาครัฐและเอกชนของประเทศญี่ปุ่นต่อการเตรียมความพร้อมและการปรับตัวให้เท่าทันต่อเทคโนโลยีเสมือนจริง ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ >>> ยุทธศาสตร์และท่าทีของภาครัฐและภาคเอกชนของประเทศญี่ปุ่นต่อการเตรียมพร้อมและปรับตัวให้เท่าทันต่อเทคโนโลยีเสมือนจริง.pdf
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอสาระสำคัญส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเด็นทางกฎหมายระหว่างประเทศเพื่อสะท้อนข้อพิจารณาและความท้าทายในการควบคุมกิจกรรมทางการตลาดข้ามพรมแดนของธุรกิจเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอสาระสำคัญของต้นแบบกฎหมายสนับสนุนความต้องการและคุ้มครองสิทธิของเหยื่อเพื่อเป็นแนวทางสำหรับการศึกษาและพัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้อง
Infographic นำเสนอเรื่อง "หลักความรับผิดชอบในการปกป้อง (R2P) ภายใต้กรอบสหประชาชาติ (UN)" ผู้สนใจสามารถ Download เอกสารได้ที่นี่ >>> Responsibility to Protect
บทความนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอนโยบาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ แผนงาน มุมมอง ท่าทีของภาครัฐและเอกชนของสหพันธรัฐรัสเซีย ต่อการเตรียมความพร้อมและการปรับตัวให้เท่าทันต่อเทคโนโลยีเสมือนจริง ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ >>> นโยบาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ แผนงาน มุมมอง ท่าทีของภาครัฐและเอกชนของสหพันธรัฐรัสเซีย ต่อการเตรียมความพร้อมและการปรับตัวให้เท่าทันต่อเทคโนโลยีเสมือนจริง
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอนโยบาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ แผนงาน มุมมอง ท่าทีของภาครัฐและเอกชนของสาธารณรัฐอินเดีย ต่อการเตรียมพร้อมและปรับตัวให้เท่าทันต่อเทคโนโลยีเสมือนจริง ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ >>> นโยบาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ แผนงาน มุมมอง ท่าทีของภาครัฐและภาคเอกชน ของสาธารณรัฐอินเดีย ต่อการเตรียมพร้อมและปรับตัวให้เท่าทันต่อเทคโนโลยีเสมือนจริง
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
รายงานการศึกษาฉบับนี้ มีความมุ่งหมายในการรวบรวมข้อมูลด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสกุลเงินดิจิทัลทั้งสกุลเงินดิจิทัลที่ออกโดยภาคเอกชน ซึ่งได้แก่ คริปโทเคอร์เรนซี (Cryptocurrency) และสกุลเงินดิจิทัลที่ออกโดยธนาคารกลาง (Central Bank Digital Currency (CBDC)) ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับแนวนโยบาย มาตรการทางกฎหมาย และการดำเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในส่วนของไทยและต่างประเทศ เพื่อนำเสนอข้อมูลพื้นฐานที่อาจจะเป็นประโยชน์แก่หน่วยงานของรัฐ ที่มีการดำเนินการเกี่ยวข้องกับสกุลเงินดิจิทัล รวมทั้งเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่องค์กร ภาคเอกชนและประชาชนที่สนใจเรื่องดังกล่าวได้ต่อไป
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงรายงานการศึกษาฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> แนวนโยบายและกฎหมายเกี่ยวกับสกุลเงินดิจิทัล (Digital Currency)
รายงานการศึกษาฉบับนี้ มีความมุ่งหมายในการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับแนวนโยบาย แนวคิด และการดำเนินการเพื่อรองรับการส่งเสริมและพัฒนา ความเป็นเมืองอัจฉริยะทั้งในส่วนของประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อนำเสนอข้อมูลพื้นฐานที่เป็นประโยชน์แก่หน่วยงานของรัฐที่มีการดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับความเป็นเมืองอัจฉริยะ รวมทั้งเป็นการสร้างความรับรู้แก่องค์กรภาคเอกชนและประชาชนเกี่ยวกับการดำเนินการในภาพรวมด้านการส่งเสริมและพัฒนาเมืองอัจฉริยะของเมืองที่ติดอันดับโลกด้านการวางแผนงานและการบริหารจัดการเมืองอัจฉริยะที่โดดเด่น รวมตลอดทั้งความคืบหน้าและแนวทางการดำเนินการของภาครัฐของประเทศไทยอันจะเป็นผลดีต่อการสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการมีส่วนร่วมในการสนับสนุนและพัฒนาประเทศไทยให้มุ่งสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะได้อย่างเป็นรูปธรรม
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงรายงานการศึกษาฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> เมืองอัจฉริยะ (Smart City)
รายงานการศึกษาฉบับนี้ มีความมุ่งหมายในการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับมาตรการในการต่อต้านและการคุ้มครองบุคคลจากการถูกกลั่นแกล้งในสังคมในเบื้องต้น ไม่ว่าจะเป็นความหมาย องค์ประกอบของการกระทำ และประเภทของการกลั่นแกล้งในรูปแบบต่าง ๆ โดยศึกษาข้อมูลทั้งในส่วนของต่างประเทศและประเทศไทย เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายเพื่อปกป้องคุ้มครองและป้องกันมิให้เกิด การกลั่นแกล้งกันในสังคม ซึ่งจะเป็นข้อมูลพื้นฐานที่เป็นประโยชน์แก่หน่วยงานของรัฐ องค์กรภาคเอกชน และประชาชนที่สนใจ เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นให้ทุกภาคส่วนได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากการกลั่นแกล้งกันในสังคม รวมตลอดทั้งการร่วมป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมทางสังคมที่ดียิ่งขึ้น
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงรายงานการศึกษาฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> มาตรการในการต่อต้านและการคุ้มครองบุคคลจากการถูกกลั่นแกล้งในสังคม
รายงานการศึกษาฉบับนี้ มีความมุ่งหมายในการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางกฎหมายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเบื้องต้น ทั้งในส่วนของความร่วมมือระหว่างประเทศ แนวนโยบาย และพัฒนาการทางกฎหมายในด้านต่าง ๆ ทั้งในส่วนของต่างประเทศและประเทศไทย เพื่อจะได้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่เป็นประโยชน์ให้แก่หน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ และประชาชนที่สนใจ รวมทั้งเป็นการจุดประกายให้ทุกภาคส่วนได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากยิ่งขึ้น
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงรายงานการศึกษาฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> พัฒนาการทางกฎหมายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change)
รายงานการศึกษาฉบับนี้ มีความมุ่งหมายในการรวบรวมข้อมูลด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานด้านการฟื้นฟูเมือง ทั้งในส่วนของต่างประเทศและประเทศไทย เพื่อนำเสนอข้อมูลพื้นฐานที่เป็นประโยชน์แก่หน่วยงานของรัฐ ในการดำเนินการเพื่อรองรับการฟื้นฟูเมือง รวมทั้งเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่องค์กรภาคเอกชน และประชาชน อันจะเป็นผลดีต่อการสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการส่งเสริมและสนับสนุนภารกิจด้านการฟื้นฟูเมืองให้เป็นไปอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงรายงานการศึกษาฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> มาตรการทางกฎหมายว่าด้วยการฟื้นฟูเมือง (Urban Redevelopment)
จากผลกระทบที่เกิดขึ้นจากวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ รัฐบาลสิงคโปร์ได้พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อนำมาใช้ในกระบวนการสอบสวนโรคและตรวจสอบการสัมผัสเชื้อของบุคคล (a national digital contact tracing (DCT) tool) และเป็นประเทศแรกที่นำแอปพลิเคชันที่ใช้สัญญาณบลูทูธ (bluetooth) เพื่อตรวจจับสัญญาณใกล้เคียงที่เรียกว่า “TraceTogether app” มาใช้ในการป้องกันและยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >> การสอบสวนโรคผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล TraceTogether : ประสบการณ์จากประเทศสิงคโปร์
(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)
เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๒ ที่ประชุมคณะกรรมการระหว่างประเทศว่าด้วยการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Intergovernmental Committee forthe Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage หรือ ICS-ICH) สมัยที่ ๑๔ ซึ่งเป็นการประชุมคณะกรรมการร่วมระหว่างรัฐบาลตามภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage) ขององค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (U.N. Educational, Scientific and Cultural Organization หรือ UNESCO) ณ กรุงโบโกตา สาธารณรัฐโคลอมเบียได้มีมติให้ขึ้นทะเบียน “นวดไทย” (NUAD THAI หรือ Traditional Thai Massage) ในบัญชีรายชื่อตัวแทนมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ (Representative List of the Intangible Cultural Heritage of Humanity หรือ RL) ซึ่งเป็นรายการที่ ๒ ต่อจาก “โขน” ที่รับการขึ้นทะเบียนไปแล้วเป็นรายการแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๖๑
บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการด้านกฎหมาย เรื่อง การเตรียมความพร้อมด้านกฎหมายเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการบริหารจัดการภัยพิบัติ ระหว่างวันที่ ๑๑ - ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๒ ณ สถาบัน National Graduate Institute for Policy Studies (GRIPS)
อ่านรายงานฉบับเต็มได้ที่ รายงานผลการประชุม
ผลการประชุมด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแนวนโยบายและกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการมลพิษ การกำจัดขยะและการจัดวางผังเมือง เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ระหว่างวันที่ ๒๐ – ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ เครือรัฐออสเตรเลีย
อ่านราบงานฉบับเต็มได้ที่ รายงานผลการประชุม
ในเวทีการค้าระหว่างประเทศ ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นสินค้าที่ทำรายได้ให้แก่ประเทศ พัฒนาแล้วเป็นจำนวนมาก โดยทรัพย์สินทางปัญญาที่มีความสำคัญได้แก่ ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า และสิทธิบัตร ในปี ค.ศ. ๒๐ ๕ ประเทศไทยมีมูลค่าการซื้อขายลิขสิทธิ์ ๕๒๐ ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือราว ๘,๐๐๐ ล้านบาท มีการขยายตัวร้อยละ ๒๕.๙ เป็นอันดับ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อัตราการซื้อสินค้าลิขสิทธิ์ต่อประชากรของไทย เฉลี่ยอยู่ที่คนละ ๗.๖๒ ดอลลาร์สหรัฐต่อปี โดยมูลค่าส่วนใหญ่ อยู่ในสินค้ากลุ่มบันเทิง
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
มาตรการให้ความคุ้มครองแก่ผู้ทรงสิทธิพันธุ์พืชใหม่ เป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้เกิดนวัตกรรมใหม่ด้านการเกษตรและเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจ ดังจะเห็นได้จากฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชของประเทศสหรัฐอเมริกาที่ใช้ระบบการจดทะเบียนในการคุ้มครองสิทธิของผู้ทรงสิทธิ โดยใช้หลักเกณฑ์เรื่องความใหม่ (new) ประกอบกับปัจจัยด้านความโดดเด่น (distinct) ความสม่ำเสมอ (uniform) และความคงที่ (stable) ของสายพันธุ์มาเป็นข้อพิจารณาในการให้ความคุ้มครองด้านต่าง ๆ
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
โดยหลักการพื้นฐาน องค์กรของรัฐไม่ว่าประเภทใดจะมีสิทธิถือครองกรรมสิทธิ์ใน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายก าหนด การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนนับเป็นแนวทางหนึ่งที่จะท าให้เกิด ความยั่งยืนในการพัฒนา การให้อ านาจในการบริหารจัดการชุมชนหรือท้องถิ่นย่อมท าให้การพัฒนา และการแก้ไขปัญหาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งเป็น องค์กรที่ท างานอยู่ในท้องถิ่น และมีความใกล้ชิดกับท้องถิ่นมากที่สุด ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมี อ านาจหน้าที่ในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมตามที่กฎหมายก าหนดและมีหน้าที่ที่ควรท าเพื่อคุณภาพ ชีวิตที่ดีของประชาชน
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
แนวทางการตรวจพิจารณา (ร่าง) พรฎ. กำหนดเขตสำรวจการจัดรูปที่ดิน (๓) ;ว่าด้วยเรื่องขั้นตอนการนัดประชุม
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ด้วยเหตุที่ยังไม่มีการวางแนวทางว่ารูปแบบบันทึกความเห็นเบื้องต้นควรใช้รูปแบบใดจึงได้นารูปแบบบันทึกฯ ของการตรวจ ร่างพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตเวนคืนมาใช้ สาหรับหัวข้อเอกสารประกอบการพิจารณา นั้น ได้ระบุด้วยว่ามีประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงมหาดไทยที่กาหนดเขตสารวจการจัดรูปที่ดินตามกฎหมายเดิมเพื่อใช้ในการพิจารณาประกอบด้วยว่าเป็นแนวเขตเดียวกันหรือใกล้เคียงกับแนวเขตตามร่างพระราชกฤษฎีกาฯ ที่จะตรวจพิจารณาหรือไม่
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ทำไมต้องเสนอ (ร่าง) พรฎ. กำหนดเขตสำรวจการจัดรูปที่ดิน
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
เจ้าของตึก เจ้าของสถานประกอบกิจการ หรือเจ้าของร้านค้า ซึ่งยินยอมให้บุคคลอื่นเข้ามาทำงานหรือทำผลประโยชน์ให้แก่หรือในสถานประกอบกิจการนั้นจะต้องร่วมรับผิดทางอาญากับนายจ้างที่แท้จริงของลูกจ้างตามความหมายในบทนิยามของคำว่า “นายจ้าง” แห่งพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ หรือไม่
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
© 2016 Office of the Council of State.